วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

การเปรียบเทียบการวิบัติ slope ชั้นดิน กับ slope ชั้นหิน




ความรู้เกี่ยวกับดินถล่ม






ดินถล่ม เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดได้ทั่วไปในบริเวณภูเขาที่มีความลาดชันสูง อย่างไรก็ตาม ในบริเวณที่มีความลาดชันต่ำก็สามารถเกิดดินถล่มได้ถ้ามีปัจจัยที่ก่อให้เกิด ดินถล่ม โดยทั่วไปบริเวณที่มักจะเกิดดินถล่ม คือ บริเวณที่ใกล้กับแนวรอ

ยเลื่อนที่มีพลังและมีการยกตัวของแผ่นดินขึ้นเป็น ภูเขาสูง บริเวณที่ทางน้ำกัดเซาะเป็นโตรกเขาลึกและชัน บริเวณที่มีแนวรอยแตกและรอยแยกหนาแน่นบนลาดเขา บริเวณที่มีการผุพังของหินและทำให้เกิดชั้นดินหนาบนลาดเขา ในบริเวณที่มีความลาดชันต่ำและมีดินที่เกิดจากการผุพังของชั้นหินบนลาดเขา หนา ดินถล่มมักเกิดจากการ

ที่น้ำซึมลงในชั้นดินบนลาดเขาและเกิดแรงดันของน้ำเพิ่ม ขึ้นในชั้นดินโดยเฉพาะในช่วงที่ฝนตกหนัก



การจำแนกชนิดของดินถล่ม



เกณฑ์ในการจำแนกชนิดของดินถล่ม และการพังทลายของลาดเขา มีหลายอย่าง เช่น ความเร็วและกลไกในการเคลื่อนที่ ชนิดของตะกอน รูปร่างของรอยดินถล่ม และปริ มาณของน้ำที่เข้ามาเกี่ยวข้องในกระบวนการดินถล่ม การจำแนกชนิดของดินถล่มที่ใช้กันแพร่หลายได้แก่การจำแนกโดย Varnes, 1975 ซึ่งอาศัยหลักการจำแนก ชนิดของของวัสดุที่พังทลายลงมา ( Type of material ) และลักษณะการเคลื่อนที่ ( Type of movement )

ระเภทของดินถล่มจำแนกตามลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุที่พังทลายลงมา ได้แก่

• การร่วงหล่น ( Falls) เป็นการเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วลงมาตามลาดเขาหรือหน้าผาสูงชัน โดยอิทธิพลของแรงโน้มถ่วงของโลก อาจเกิดการตกอย่างอิสระ หรือมีการกลิ้งลงมาตามลาดเขาร่วมด้วย โดยมีน้ำเข้ามาเกี่ยวข้องน้อย หรือไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง ดังนั้นตะกอนดินหรือหินที่พังทลายลงมาจะกองสะสมกันอยู่บริเวณเชิงเขาหรือ หน้าผานั้นเอง ถ้าเป็นหน้าผาหินและตะกอนที่ตกลงมาส่วนมากเป็นหิน เรียกว่า “Rock fall” ส่วนถ้าเป็นหน้าผาดินและตะกอนที่ตกลงมาเป็นดินเม็ดหยาบ เรียกว่า “Debris fall” และถ้าตะกอนที่ตกลงมาเป็นดินเม็ดละเอียด เรียกว่า “Earth fall”


• การล้มคว่ำ ( Topples) เป็นการเคลื่อนที่โดยมีการหมุน หรือล้มคว่ำลงมาตาม ลาดเขา มักพบว่าเกิดเชิงหน้าผาดินหรือหินที่มีรอยแตกรอยแยกมาก โดยกระบวนการเกิดดินถล่มมี น้ำเข้ามาเกี่ยวข้องน้อย หรือไม่มีน้ำเข้ ามาเกี่ยวข้อง

หินที่สนใจ

หินบะซอลต์

บะซอลต์ (อังกฤษ: basalt) เป็นหินอัคนีพุที่พบได้โดยทั่วไป มักพบมีสีเทาถึงสีดำ มีเนื้อละเอียดเนื่องจากเกิดจากการเย็นตัวของลาวาอย่างรวดเร็วบนพื้นผิวโลก อาจพบมีเนื้อสองขนาดที่มีผลึกขนาดโตกว่าอยู่ในพื้นเนื้อละเอียด หรือมีเนื้อเป็นโพรงข่าย หรือมีเนื้อเป็นตะกรันภูเขาไฟ (สคอเรีย) เนื้อหินบะซอลต์สดๆจะมีสีดำหรือสีเทา

ปรกติหินบะซอลต์จะถูกนำไปใช้เป็นวัสดุก่อสร้างถนน เทพื้นรองหมอนและรางรถไฟ และทำเป็นแผ่นปูพื้นหรือผนัง และยังใช้เป็นส่วนผสมที่สำคัญในการผลิตแอสฟัลต์

ในโลกของเรานี้หินหนืด (แมกมา) เป็นวัตถุต้นกำเนิดของหินบะซอลต์ เกิดจากการพองตัวของวัตถุหลอมในชั้นเนื้อโลก หินบะซอลต์ก็เกิดได้บนดวงจันทร์ของโลกเรา รวมถึงบนดาวอังคาร ดาวศุกร์ และแม้แต่ดาวเคราะห์น้อย 4 เวสต้า หินต้นกำเนิดเพื่อการกึ่งหลอมละลายอาจจะเป็นทั้งเพริโดไทต์และไพรอกซีไนต์ (เช่น Sobolev et al., 2007) เปลือกโลกส่วนของมหาสมุทรโดยส่วนใหญ่แล้วจะประกอบไปด้วยหินบะซอลต์ที่เกิด จากการปะทุขึ้นมาจากชั้นเนื้อโลกที่อยู่ด้านล่างตรงบริเวณเทือกเขากลางสมุทร

คำว่าบะซอลต์บางครั้งก็ถูกใช้เรียกหินอัคนีแทรกซอนในระดับตื้นๆที่มีองค์ประกอบเป็นแบบหินบะซอลต์ แต่หินที่มีองค์ประกอบดังกล่าวที่มีเนื้อหยาบโดยทั่วไปจะเรียกว่าโดเลอไรต์ (อาจเรียกเป็นไดอะเบสหรือแกบโบร)


หลุมเจาะ จ.ระนอง [GROUP 18]

▪ โครงการก่อสร้างอนุสาวรีย์จำลองเจ้าแม่กวนอิม เกาะสะระณีย์ ต.- อ.เมือง จ.ระนอง (2 หลุม)

Taylor's chart



Taylor's chart

Taylor's stability chart is the main tool used for engineering analysis of simple homogeneous slope stability problems. It is likely that this situation will continue in the future. One of the main deficiencies of Taylor's original presentation is that it does not provide a convenient, general tool for establishing the critical slip circle associated with a given stability problem. Critical circles define the extent of the potentially unstable zone, and this information is quite useful in many practical situations. The present work completes Taylor's classical investigation of stability of homogeneous slopes, and presents the tools necessary in order to establish not only stability numbers (safety factors), but also critical slip circles associated with those numbers. The information defining critical slip circles is presented in a simple chart form which is convenient for practical applications

วันเสาร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

ทำไมเลือกเรียนวิชาcen370

ทำไมต้องเรียนธรณี?
ก็เพราะเราอาศัยอยู่บนโลกน่ะสิ!!!

เกือบทุกกิจกรรมที่เราทำในทุกวันนั้นล้วนแล้วแต่เกี่ยวข้องกับโลกของเราทั้ง สิ้น ไม่ว่าจะเป็นบนพื้นดิน มหาสมุทร ชั้นบรรยากาศ หรือแม้กระทั่งพืช และสัตว์ อาหารที่เรารับประทาน น้ำที่เราดื่ม บ้านหรือโรงเรียนที่เราอยู่ เสื้อผ้าที่เราใส่ พลังงานที่เราใช้ และอากาศที่เราหายใจ ต่างก็ได้เกิดขึ้น และอยู่ล้อมรอบโลกใบนี้
ในอีก 20 ปีข้างหน้า คาดว่าจะมีประชากรประมาณ 8 พันล้านคนอาศัยอยู่บนโลก ถ้าเรายังคงต้องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อตอบสนองความต้องการที่จะเพิ่มคุณภาพชีวิต เราทุกคนหรือทุกชุมชนจำเป็นต้องเรียนรู้เกี่ยวกับโลกของเราให้มากขึ้น ในแง่ของกระบวนการทางธรรมชาติต่างๆ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ความรู้เหล่านี้มีเพียงศาสตร์ทางธรณีเท่านั้นที่จะช่วยให้นักเรียนเข้าใจและตระหนักถึงโลกอันซับซ้อนใบนี้ได้

หา slope จากแผนที่และหาอัตราส่วนเส้นความชัน

หา slope จากแผนที่และหาอัตราส่วนเส้นความชัน






รู้อะไรจากเเผนที่

1. ทำให้รู้ความชัน ความสูงต่ำของพื้นที่
2. ทำให้รู้ขนาดจริงของแต่ละพื้นที่
3. ทำให้แยกได้ว่าพื้นที่ตรงไหนเป็นภูเขา ที่ราบ หรือแม่น้ำ
4. การดูแผนที่ทำให้ง่ายต่อการวางแผนในการทำกิจกรรมต่างๆ

LandMark

อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน

อำเภอปาย แม่ฮ่องสอน

ปาย เมืองเล็ก ๆ ที่ถูกโอบล้อมไปด้วยขุนเขา สูงตระหง่านเป็นรอยต่อชายแดนไทย-พม่า ฤดูหนาวอากาศเย็นจัด เมืองเล็กๆแห่งนี้มักปกคลุมด้วยสายหมอก ละอองน้ำจางๆยามเช้า บรรยากาศอันเงียบสงบ ทุ่งนาสีเขียว ท้องฟ้าสีคราม กับแสงแดดอุ่นๆ ที่ทอดผ่านม่านหมอกหนา แลเห็นต้นสนไม้ยืนต้นเมืองหนาวสูงใหญ่เป็นทิวแถวตามเชิงเขา วิถีชีวิตที่เรียบง่ายของผู้คน ด้วยความเป็นเอกลักษณ์นี้ ปายได้ดึงดูดนักเดินทางรวมทั้งตัวผมเองให้มาสัมผัสมนต์เสน่ห์แห่งนี้ ช่วงที่เหมาะแก่การท่องเที่ยว คือ ปลาย พ.ย. ถึง มี.ค. อากาศดีมาก

ข้อมูลเพิ่มเติม จากทริปล่าสุด หลังน้ำท่วมใหญ่ที่ปาย สองรอบในปลายปี 48 นี้ ชาวบ้านเล่าให้ฟังว่า 30 ปีจะมีสักครั้ง แต่ปี 48 โดนไปถึงสองครั้งติดๆกัน ที่ราบบางตอนน้ำท่วมถึงเอวทีเดียว น้ำเริ่มเปลี่ยนทิศทาง เอากองดินเลนและตะกอนมาจำนวนมาก ทางการกำลังเตรียมขุดล่องน้ำและรีบทำให้กลับสู่สภาพเดิมในปี48-49 นี้

ถึงกระนั้นก็ตามล่าสุด พ.ย.48 นี้นักท่องเที่ยวทั้งไทยและต่างชาติก็ไม่น้อยลงเลยแต่กลับมาเที่ยวมากขึ้นทั้งรายใหม่และรายเก่า มีรีสอร์ทกำลังสร้างใหม่เป็นจำนวนมากเพื่อรอรับนักท่องเที่ยว


พิกัดภูมิศาสตร์

WGS84 19° 21′ 31″ N, 98° 26′ 24″ E
19.358611, 98.44
Changes links to อำเภอปาย antipole (-19.358611, -81.56)
UTM 47Q 441187 2140603
Zoom 5 Scale ± 1:300000
Region TH Type admin2nd
Title อำเภอปาย (Edit | Report inaccuracies)


ธรณีวิทยา คืออะไร

Geological foundation.

Geology (Geology) is a scientific study about global substance different parts of the world, such as mineral water, soil and rock as well as process changes within the world. That occur in nature. From the origin to the present world. This study both the structure. Physical, chemical and biological components made known to History. And environment in the past and present. Various factors, both internal and external influences. To change the surface conditions. The evolution of life forms and methods as well as bringing resources. The sustainable use also.

หินในงานก่อสร้างที่ชอบ

ชื่อสถานที่

ปราสาทหินนครวัด
: Angkor
สถานที่ตั้ง เมืองเสียมราฐ ประเทศกัมพูชา
ปัจจุบัน สามารถเข้าเยี่ยมชมได้

ปราสาทหินนครวัด เป็นสถาปัตยกรรมที่มหัศจรรย์อย่างหนึ่งของโลก สร้างโดยพระราชาธิราชแห่งพวกขอมซึ่งปกครองดินแดนของกัมพูชา ประมาณสิพ.ศ. 1690 (ค.ศ. 1147)เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2

ตัวปราสาทสร้างด้วยหินศิลาแลง นี้กว้างด้านละ 5 เส้น หรือ 200 เมตร แบ่งเป็นเป็น 3 ตอน รอบ ๆ ปราสาทมีคู ทางเข้าปราสาท ด้านหน้าปูด้วยหินศิลาแลงขนาดใหญ่มีราวกำแพงสลักเป็นพญานาค ซุ้มประตูสร้างเป็น พระปรางค์ 3 ยอด ผ่านประตูเข้าไปข้างในถึงตอนกลางเป็นปราสาทก่อเป็นพระปรางค์มี 5 ยอด มีภาพแกะสลักวิจิตรงดงามลงในเนื้อหินประดับประดาอยู่แทบทั้งหมด เป็นภาพนูนแสดงถึงพุทธประวัติ ประวัติการทำสงคราม ตอนบนของยอดปราสาทมักสลักเป็นรูปพรหมสี่หน้า เป็นสถาปัตยกรรมก่อสร้างที่งดงามมั่นคงธิซึ่งแสดงว่าครั้งหนึ่ง ขอมเคยเจริญรุ่งเรืองมาแล้วในสมัยโบราณ

ปราสาทนี้ปล่อยทิ้งร้างไว้เมื่อขอมเสื่อมอำนาจลง จนกลายเป็นป่าทึบชัมีต้นไม้ปกคลุมโดยทั่วไปทำให้ปรักหักพังลงมากเพิ่งได้รับการบำรุงซ่อมแซมบูรณะให้คืนสู่สภาพเดิมเมื่อต้นคริสตศตวรรษที่ 19

สถาปนิก ที่เต้ยชอบ

เลโอนาร์โด ดา วินชี



เลโอนาร์โด ดา วินชี (อิตาลี: Leonardo da Vinci) เป็นชาวอิตาลี (เกิดที่เมืองวินชี วันที่ 15 เมษายน ค.ศ. 1452 - เสียชีวิตที่เมืองออมบัวซ์ ในวันที่ 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1519) เป็นอัจฉริยบุคคลที่ มีความสามารถหลากหลาย เป็นทั้ง สถาปนิกแบบเรอเนซองส์ นักดนตรี นักกายวิภาค นักประดิษฐ์ วิศวกร ประติมากร นักเรขาคณิต นักวาดภาพ. ดา วินชี มีงานศิลปะที่มีชื่อเสียงหลายชิ้น เช่น พระกระยาหารมื้อสุดท้าย และ โมนา ลิซ่า งานของ ดา วินชี ยังสร้างคุณประโยชน์กับวิชากายวิภาคศาสตร์ ดาราศาสตร์ รวมถึงวิศวกรรมโยธา ด้วยความที่เป็นบุรุษที่มีจิตวิญญาณที่รักในศาสตร์หลายแขนง เลโอนาร์โดทำให้เกิดจิตวิญญาณของสหวิทยาการในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ และกลายเป็นบุคคลสำคัญของยุคนั้น

ประวัติ

เลโอนาร์โด เกิดเมื่อวันที่ 15 เมษายน โดยที่ที่เขาเกิดอยู่ห่างจากหมู่บ้านวินชี ในประเทศอิตาลี ไปราวสองกิโลเมตร บิดาชื่อนายแซร์ ปีเอโร ดา วินชี เป็นเจ้าพนักงานรับรองเอกสารของรัฐ มารดาชื่อคาตารีนา เป็นสาวชาวนา เคยมีคนอ้างว่านางคาตารีนาเป็นทาสสาวจากประเทศแถบตะวันออกในครอบครองของปีเอโร แต่ก็ไม่มีหลักฐานเด่นชัด

ในสมัยนั้นยังไม่มีมาตรฐานการเรียกชื่อและนามสกุลที่เป็นที่ยอมรับกันอย่างแพร่หลายในทวีปยุโรป ทำให้ชื่อและนามสกุลของดา วินชี ที่แท้จริงคือ เลโอนาร์โด ดิ แซร์ ปีเอโร ดา วินชี ซึ่งหมายความว่า เลโอนาร์โด บุตรชายของปีเอโร แห่ง วินชี แต่เลโอนาร์โดเองก็มักจะลงลายเซ็นในงานของเขาอย่างง่ายๆว่า เลโอนาร์โดข้าเอง เลโอนาร์โด เอกสารสำคัญส่วนใหญ่ระบุว่าผลงานของเขาเป็นของ เลโอนาร์โด โดยไม่มี ดา วินชี พ่วงท้าย ทำให้เข้าใจได้ว่าเขาไม่ได้ใช้นามสกุลของบิดาเนื่องจากเป็นบุตรนอกสมรสนั่นเอง หรือไม่ก็